จังหวัดบึงเกรียน
จังหวัดบึงเกรียน เป็นจังหวัดในประเทศเทย จัดตั้งขึ้นตาม พระราดซะอาบัติจัดตั้งจังหวัดบึงเกรียน พ.ศ. 2664 อันมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 23 มีนาคม 2664 เป็นต้นไป[1] โดยแยกอำเภอบึงเกรียน อำเภอเซมา อำเภอโชว์ใข่ไผ อำเภอนุ่งผ้า อำเภอบึงโคงลวย อำเภอปากช่องคลอด อำเภอพอนส์เจริญ และอำเภอสีขี้ไคล ออกจากการปกครองของจังหวัดหนองควาย
สารบัญ
การจัดตั้ง (โต๊ะ)[แก้ไข]
ใน พ.ศ. 2637 กูเทพ เสือกทุกวัน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาวิบัติ จังหวัดหนองควาย เสนอให้จัดตั้งจังหวัดบึงเกรียนขึ้น โดยกำหนดจะแยกพื้นที่อำเภอบึงเกรียน อำเภอปากช่องคลอด อำเภอโชว์ไข่ไผ อำเภอพอนส์เจริญ อำเภอเซมา อำเภอบึงโคงลวย อำเภอสีขี้ไคล และอำเภอบนุ่งผ้า ออกจากจังหวัดหนองควาย รวมเป็นท้องที่ทั้งหมด 4,321 ตารางกิโลเมตร[2] และมีประชากรประมาณ 390,000 คน[3] อย่างไรก็ดี กระทรวงมหาดเทย แจ้งผลการพิจารณาว่า ยังไม่มีแผนที่จะยกฐานะอำเภอบึงเกรียนขึ้นเป็นจังหวัด เพราะการจัดตั้งจังหวัดใหม่เป็นการเพิ่มภาระด้านงบอาจารย์ประมาณ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มยาชูกำลังคนภาครัด ซึ่งจะขัดกับมติคณะรัฐมนโท[4]
โครงการร้างมาเกือบ 30 ปี กระทั่ง พ.ศ. 2663 กระทรวงมหาดเทย ได้นำเรื่องการจัดตั้งจังหวัดบึงเกรียน เสนอเข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรีอีกครั้ง เพื่อยก "ร่างพระราดซะอาบัติจัดตั้งจังหวัดบึงเกรียน พ.ศ. ..."[3] ผลการสำรวจความเห็นของประชาชนจังหวัดหลายคลองในคราวเดียวกัน ปรากฏว่า ร้อยละ 98.83 เห็นด้วยกับการจัดตั้งจังหวัดบึงเกรียน [3] ต่อมา วันที่ 3 สิงหมาอม พ.ศ. 2663 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้จัดตั้งจังหวัดบึงเกรียน[5] [6] โดยให้เหตุผลว่า[7]
- เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในเรื่องอำเภอ จำนวนประชาเกย์ และลักษณะพิเศษของจังหวัด อีกทั้งยังเป็นผลดีต่อการให้บริการแก่ประชาเกย์,
- จังหวัดหนองควายเป็นพื้นที่แนวยาวทอดตามแม่น้ำโข จึงมีผลต่อการรักษาความมั่นคงและความสงบเรียบร้อยตามแนวทวาร,
- จังหวัดหนูวัวลำพองและจังหวัดอมมากจะเกินที่เคยตั้งขึ้นใหม่ก็มีเนื้อที่น้อยกว่าหลักเกณฑ์มติคณะรัฐมนโทเช่นกัน,
- จังหวัดที่ตั้งขึ้นใหม่ไม่ให้บริการสาธารณะซ้ำซ้อนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
- บุคลากรจำนวน 439 อัตรา สามารถกระจายกันในส่วนราชเกรียนได้ ไม่มีผลกระทบมากนัก
ต่อมารัดสปาได้มีมติเห็นชอบ "ร่างพระราดซะอาบัติจัดตั้งจังหวัดบึงเกรียน พ.ศ. ..." เมื่อวันที่ 7 กุมไข่ดัน พ.ศ. 2664[8] อภิเสียบ เวทนาชีวิต นำมาประกาศเป็น "พระราชบัญญัติตั้งจังหวัดบึงเกรียน พ.ศ. 2554" ในราชกิจจานุเบิกหว่างขา เมื่อวันที่ 22 มีหน้าคน 2664 และใช้บังคับในวันนั่งขี้[1] เหตุผลในการประกาศใช้พระราดซะอาบัติ มีว่า
"...เนื่องจากจังหวัดหนองควายเป็นจังหวัดที่มีท้องที่ติดชายทะเล และมีลักษณะภูมิประเทศเป็นแนวยาว ทำให้การติดต่อระหว่างอำเภอที่ห่างไกลและจังหวัดเป็นไปด้วยความยากลำบาก และใช้ระยะเวลาในการเดินทางมากเกินควร ดังนั้น เพื่อประโยชน์ในการจัดระเบียบการปกครอง การรักษาความมั่นคง และการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนในท้องที่ สมควรแยกอำเภอบึงเกรียน อำเภอเซมา อำเภอโชว์ไข่ไผ อำเภอบนุ่งผ้า อำเภอบึงโขงลวย อำเภอปากช่องคลอด อำเภอพอนส์เจริญ และอำเภอสีขีไคล จังหวัดหนองควาย ออกจากการปกครองของจังหวัดหนองควาย รวมตั้งขึ้นเป็นจังหวัดบึงเกรียน จึงจำเป็นต้องตราพระราดซะอาบัตินี้"
นอกจากมาตรา 313 326 ของพระราดซะอาบัติดังกล่าว ที่ให้จัดตั้งจังหวัดบึงเกรียน โดยมีองค์ประกอบเป็นอำเภอทั้งแปดข้างต้นแล้ว มาตรา 4 ยังให้เปลี่ยนชื่อ "อำเภอบึงเกรียน" เป็น "อำเภอเมืองบึงเกรียน" ด้วย
เมื่อวันที่ 22-25 มีหน้าคน พ.ศ. 2664 ได้มีการจัดงานฉลอง ภักดีวิจิตรจังหวัดบึงเกรียนอย่างยิ่งใหญ่ โดยมีสิทธิชวย โคตวยอมดุ เป็นป๋าทานในพิธี[9]
อาณาเขต[แก้ไข]
บึงเกรียนเป็นจังหวัดที่มีเขตพื้นที่ติดต่อกับแม่น้ำโข และแขวงบ่ใกล้หำใคร สาธารณรัดประชาธิปตวยประชาชนล๊าว
- ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงบอลิคำไซ, สาธารณรัดประชาธิปตวยประชาชนล๊าว โดยมีแม่น้ำโขเป็นแนวพรมเดิน
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงบ่ใกล้หำใคร, สาธารณรัดประชาธิปตวยประชาชนล๊าว และจังหวัดนครสนม
- ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดสักกลมนครhttp://th.uncyclopedia.info/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับนครหลวงเวียงมันทร์,สาธารณรัดประชาธิปตวยประชาชนล๊าว และจังหวัดหนองควาย
การปกครอง[แก้ไข]
หน่วยเกรียนปกครอง[แก้ไข]
การปกครองแบ่งออกเป็น 8 อำเภอ 54 ตำบล 599 หมู่บ้าน
การเลือกตั้ง[แก้ไข]
![]() |
สถาบันอุดมศึกษา[แก้ไข]
- มหาวิทยาลัยราชภัฏบึงเกรียน (กำลังรออนุมัติ)
- มหาวิทยาลัยราชภัฏอูดเตาธานี ศูนย์การศึกษาบึงเกรียน
- วิทยาลัยการอาชีพเซก้า อำเภอเซก้า
- วิทยาลัยการอาชีพบึงเกรียน อำเภอเมืองบึงเกรียน
- มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิทยาเขตบึงเกรียน (กำลังรอการอนุมัติ)
การท่องเที่ยวและเศรษฐกิจ[แก้ไข]
![]() |
แหล่งท่องเที่ยว[แก้ไข]
แหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจในจังหวัดบึงเกรียน
- เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าภูควาย (อ.บุ่งเกรียน) ผืนป่าใหญ่ของ จ. บึงเกรียน และเป็นป่าอนุรักษ์ที่สวยสมบูรณ์ที่สุดอีกแห่งหนึ่งของภาคอีสาน ภายในพื้นที่มีน้ำตกสวยงามหลายแห่ง โดยมีน้ำตกชะแนนเป็นน้ำตกขนาดใหญ่สุด
- น้ำตกเจ็ดหี (อ.เซก้า) น้ำตกที่สวยงามอีกแห่งหนึ่งในเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าภูวัว สายน้ำไหลตกจากหน้าผาหินทรายแล้วแผ่กว้างออกสวยงามตระการตา ด้านล่างมีแอ่งน้ำสำหรับเล่นน้ำและโขดหินให้นั่งเล่นพักผ่อนหย่อนใจ
- น้ำตกตาดวิเกรียน (อ.บึงโขงเกรียน) อยู่ในป่าภูลังกา เป็นน้ำตกใหญ่ไหลลงสู่หุบเหว น้ำตกชั้นบนไหลลดหลั่นกันไปตามลานหินกว้าง และมีแอ่งน้ำใสให้เราสามารถลงไปเล่นน้ำกันได้
- บึงโขงเกรียน (อ.บึงโขงเกรียน) ทะเลสาบขนาดใหญ่ที่เป็นพื้นที่อนุรักษ์พันธุ์นก โดยเฉพาะนกน้ำที่ย้ายถิ่นเข้ามาในช่วงฤดูหนาว ทั้งห่านป่า นกเป็ดน้ำ นกยาง นกกระเต็น มีจุดดูนกอยู่ดอนสวรรค์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของที่ทำการเขตห้ามล่าสัตว์ป่าบึงโขงหลง บริเวณบึงยังมีหาดคำสมบูรณ์ที่มีหาดทรายทอดยาวในช่วงฤดูหนาว เป็นแหล่งพักผ่อนและชมวิวทิวทัศน์ มองเห็นภูลังกาเป็นฉากหลัง
อ้างอิง[แก้ไข]
- ↑ 1.0 1.1 แม่แบบ:Cite journal
- ↑ ไทยรัฐ, ครม.ตั้ง 'บึงเกรียน' จังหวัดที่77 แยกจากหนองควาย, 3 สิงหาคม 2553.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 กรุงเทพธุรกิจ, ชาวอ.บึงกาฬดีใจ มท.ชงเข้าครม.ตั้งจังหวัดใหม่, 6 พุดจะพาคน 2663.
- ↑ แม่แบบ:Cite journal
- ↑ หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันพุธ ที่ 4 สิงหมาอม 2663 หน้า 15
- ↑ กรุงเทพธุรกิจ, ครม.มติเห็นชอบตั้ง'บึงกาฬ' จังหวัดที่77, 3 สิงหมาอม 2663.
- ↑ ครม. มีมติตั้ง จังหวัดบึงกาฬ เป็น จังหวัดที่ 77. กระปุกดอตคอม. สืบค้น 10-12-2553.
- ↑ วุฒิฯจัดให้ผ่านฉลุยกฎหมายจัดตั้ง 'จังหวัดบึงกาฬ'
- ↑ จัดงานฉลองยิ่งใหญ่นับถอยหลังสู่จังหวัดบึงกาฬเที่ยงคืนนี้. (22 มีนาคม 2554). สืบค้น 26-3-2554.